Press Release: Secret Camps Holding Rohingya Refugees Must Be Closed Immediately

Mekong Migration Network Press release on International Migrants Day, 18 December 2013

*For Thai translation, please scroll down.

*สำหรับภาษาไทย กรุณาเลื่อนลงด้านล่างเพื่อดูเอกสาร

 

Secret Camps Holding Rohingya Refugees Must Be Closed Immediately

On International Migrants Day the Mekong Migration Network Calls for Urgent Action To Protect Asylum Seekers

The Mekong Migration Network (MMN) strongly condemns the abusive treatment of the Rohingya in Myanmar and in Thailand. Members of MMN who represent civil society groups working on labour, women and migration issues in all of the countries of the Mekong subregion, are shocked by the treatment of the Rohingya people.

The Rohingya have suffered racial violence and lack of protection in their homes in Myanmar and when they have fled, they have not been able to access any international procedures to asylum. According to a Special Report by the news agency Reuters entitled “Thailand’s Clandestine Rohingya Policy Uncovered”, there exists a secret policy to “remove Rohingya refugees from Thailand’s immigration detention centers and deliver them to human traffickers waiting at sea.” The Rohingya are then reportedly transported across southern Thailand and held hostage in a series of jungle camps hidden close to the border with Malaysia until relatives pay thousands of dollars as ransom for their release. The humanity of the local Thai people who have provided help to those who managed to escape from the camps stands in stark contrast to the inexcusable neglect by Thai authorities and United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR).

Following the release of the Reuters report, the United Nations and the United States have called for the Thai government to conduct a serious and transparent investigation into this matter.

The MMN has investigated Thailand’s use of arrest, detention and deportation in controlling migrant populations from Myanmar, Cambodia and Lao PDR for over 9 years and has continuously expressed concern regarding the lack of transparency and monitoring of the procedures and the mistreatment of migrants during these procedures.1

The MMN thus calls for the following urgent actions:
1. The Royal Thai Government should immediately and permanently close these secret camps and together with civil society groups arrange for the safe shelter of those currently held in the camps.
2. Consultations must be held to offer long term solutions for citizenship and livelihoods. In doing so, we urge authorities to consult with a cross section of Rohyinga representatives to ensure any action taken reflects the needs of the affected communities.
3. The Royal Thai Government in coordination with the UN should conduct a thorough and independent investigation into the alleged secret operation of refugee camps in the jungles and the practice of law enforcement officers colluding with smugglers.
4. The UNHCR should work with the Thai authorities to firstly protect all asylum seekers and secondly to screen all persons of concern for their eligibility for refugee status.
5. ASEAN Inter governmental Commission for Human Rights (AICHR) should independently investigate all cases of racial and ethnic abuse in all countries of the Association of South East Asian Nations (ASEAN).
6. The Governments of ASEAN should develop clear guidelines and procedures, in line with international standards, for the treatment of asylum seekers, stateless people, refugees and migrants.

For more information, please contact:
Jackie Pollock (+66) (0)8-50395216, jackie_pollock@yahoo.com; or
Reiko Harima (+852) 93692244, reiko@mekongmigration.org; or
Omsin Boonlert (+66) (0)869238313, plaii@mekongmigration.org

1 For the findings of the MMN past research, please see MMN and Asian Migrant Centre, Migration in the Greater Mekong Sub-region; In-depth Study: Arrest, Detention and Deportation (2008), available at: https://mekongmigration.org/?p=1595&preview=true. Also see MMN, No Choice in the Mater: Migrants’ experiences of arrest, detention and deportation (2013), available at: https://mekongmigration.org/?page_id=1827.

ศูนย์พักพิงลับสำหรับควบคุมผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาจะต้องปิดลงทันที

เนื่องในวันแรงงานข้ามชาติสากล เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงขอเรียกร้องให้มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วนในการปกป้องคุ้มครองผู้แสวงหาที่ลี้ภัย

เครือข่ายการย้ายถิ่นในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MMN) ขอประณามการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสมต่อชาวโรฮิงญาในประเทศพม่าและประเทศไทยอย่างรุนแรง สมาชิกของเครือข่าย MMN ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่มภาคประชาสังคมที่ทำงานในประเด็นเกี่ยวกับแรงงาน สตรี และผู้ย้ายถิ่นในทุกประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ต่างต้องตกใจอย่างยิ่งจากการปฏิบัติต่อชาวโรฮิงญา

ชาวโรฮิงญาได้รับความทุกข์ทรมานจากความรุนแรงด้านเชื้อชาติและปราศจากการปกป้องคุ้มครองในบ้านเกิดของพวกเขาในประเทศพม่า และเมื่อพวกเขาหลบหนีออกมา พวกเขากลับไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการสากลใดๆว่าด้วยผู้แสวงหาที่ลี้ภัยเลย ตามรายงานพิเศษโดยสำนักข่าวรอยเตอร์ที่ชื่อ “เปิดเผยนโยบายลับของว่าด้วยโรฮิงญาของไทย” ซึ่งกล่าวว่าได้มีนโยบายลับในการ “ย้ายผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาจากศูนย์กักขังของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง และนำพาพวกเขาไปส่งต่อให้กับผู้ค้ามนุษย์ที่รออยู่ในทะเล” จากนั้นตามที่รายงานพบว่าชาวโรฮิงญาถูกเคลื่อนย้ายข้ามไปยังภาคใต้ของประเทศไทย และถูกควบคุมเป็นตัวประกันในศูนย์พักพิงลับต่างๆที่ซ่อนอยู่ในป่าใกล้กับชายแดนมาเลเซียจนกว่าญาติของพวกเขาจะจ่ายเงิน 1,000ดอลลาร์สำหรับเป็นค่าไถ่ตัวได้ ความมีมนุษยธรรมของคนท้องถิ่นชาวไทยที่ได้ให้การช่วยเหลือต่อชาวโรฮิงญาที่หลบหนีออกมาจากศูนย์พักพิงนั้นตรงข้ามอย่างชัดเจนกับการเพิกเฉยที่ไม่สามารถให้อภัยได้ของเจ้าหน้าที่รัฐไทย และสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR)

หลังจากการเผยแพร่รายงานของสำนักข่าวรอยเตอร์ สหประชาชาติและสหรัฐอเมริกาได้เรียกร้องให้รัฐบาลไทยดำเนินการสอบสวนอย่างจริงจังและโปร่งใสต่อกรณีดังกล่าว

เครือข่าย MMN ได้ทำการตรวจสอบการใช้การจับ การกักขัง และการส่งกลับของประเทศไทยในการควบคุมประชากรผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า กัมพูชา และลาวมากว่า 9 ปีและนำเสนออย่างต่อเนื่องถึงความห่วงกังวลเนื่องจากการปราศจากความโปร่งใสและกระบวนการตรวจสอบและการปฏิบัติอย่างไม่เหมาะสม
ต่อผู้ย้ายถิ่นในระหว่างกระบวนการเหล่านี้1

ดังนั้น เครือข่าย MMN จึงขอเรียกร้องให้มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วน ดังต่อไปนี้:
1. รัฐบาลไทยควรปิดศูนย์พักพิงลับเหล่านี้อย่างทันทีและปิดอย่างถาวร และร่วมกับกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมในการจัดหาบ้านพักที่ปลอดภัยสำหรับผู้ที่ถูกควบคุมอยู่ในศูนย์พักพิงต่างๆ
2. จะต้องมีการประชุมเพื่อปรึกษาหารือ เพื่อแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหาในระยะยาวสำหรับเรื่องความเป็นพลเมืองและการดำรงชีวิต เพื่อดำเนินการดังกล่าว ทางเครือข่ายฯ เรียกร้องให้เจ้าหน้าที่รัฐปรึกษาหารือร่วมกับตัวแทนของชาวโรฮิงญา เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการดำเนินการใดๆนั้นสะท้อนความต้องการของชุมชนที่ได้รับผลกระทบอย่างแท้จริง
3. รัฐบาลไทยภายใต้การประสานความร่วมมือกับสหประชาชาติควรจะดำเนินการสอบสวนตรวจสอบอย่างละเอียดรอบคอบและเป็นอิสระต่อข้อกล่าวหาเรื่องการดำเนินการตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้ลี้ภัยในป่า และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้กฎหมายที่สมรู้ร่วมคิดกับผู้ลักลอบข้ามแดน
4. สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ควรทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่รัฐของไทยโดยอย่างแรกเพื่อปกป้องคุ้มครองผู้แสวงหาที่ลี้ภัยเป็นอย่างแรก และอย่างที่สองคือเพื่อคัดกรองบุคคลที่เป็นผู้อยู่ในความห่วงใยเพื่อให้พวกเขาได้สิทธิยื่นขอสถานะผู้ลี้ภัย
5. คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (AICHR) ควรดำเนินการสอบสวนตรวจสอบอย่างเป็นอิสระ ต่อกรณีการละเมิดด้านเชื้อชาติและชาติพันธุ์ในทุกกรณีที่เกิดขึ้นในทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียน
6. รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนควรพัฒนาแนวปฏิบัติและกระบวนการต่างๆที่ชัดเจน เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อปฏิบัติต่อผู้แสวงหาที่ลี้ภัย คนไร้สัญชาติ ผู้ลี้ภัย และผู้ย้ายถิ่น

ข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ:
Jackie Pollock (+66) (0)8-50395216, jackie_pollock@yahoo.com; or
เรโกะ ฮาริมะ (+852) 93692244, reiko@mekongmigration.org; or
ออมสิน บุญเลิศ (+66) (0)869238313, plaii@mekongmigration.org

1 For the findings of the MMN past research, please see MMN, Migration in the Greater Mekong Sub-region; In-depth Study: Arrest, Detention and Deportation (2008), available at: https://mekongmigration.org/?p=1595&preview=true. Also see No Choice in the Matter: Migrants’ experiences of arrest, detention and deportation (2013), available at: https://mekongmigration.org/?page_id=1827.

The MMN statement was covered by the following news:

Prachatai (Thai language)

http://prachatai.com/journal/2013/12/50507